294/1 Asia Building (11th Floor), Phyathai, Bangkok

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

HIV (Human Immunodeficiency Virus) คือ เชื้อไวรัสชนิดหนึ่งที่เป็นสาเหตุของโรคเอดส์ (AIDS) โดยเชื้อจะไปทำลายเม็ดขาว (CD4 lymphocyte)
READ MORE
Make Appointment

Relate content :

Hepatitis B vaccine

วัคซีนไวรัสตับอักเสบบีประกอบด้วยโปรตีนที่ผิวของไวรัส (HBsAg) ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย

HPV vaccine

เชื้อไวรัส HPV คืออะไร? ทำไมต้องฉีดวัคซีน HPV สาเหตุหลักที่ทำให้ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกนั้นเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (Human papilloma virus infection: HPV) ไม่เพียงแต่ผู้หญิงเท่านั้นที่ติดเชื้อไวรัสเอชพีวีได้ ผู้ชายก็สามารถติดเชื้อชนิดนี้ได้เช่นกันและส่งผลให้เกิดโรคร้ายแรงตามมาด้วย แต่ปัจจุบันเราสามารถลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดมะเร็งได้ง่ายๆ ด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก หรือวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก (HPV) สำหรับผู้หญิง เป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งที่ช่องคลอด ปากช่องคลอด ทวารหนัก มะเร็งบริเวณปาก และลำคอ หูดหงอนไก่ ทั้งยังเชื่อมโยงกับการเกิดโรคหัวใจด้วย สำหรับผู้ชาย การติดเชื้อ HPV อาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งที่อวัยวะเพศ ทวารหนัก มะเร็งบริเวณปาก และลำคอ หูดหงอนไก่ มะเร็งปากมดลูกส่วนมากจะพบในผู้หญิงวัย 30-55 ปี ผู้ที่มีเชื้อไวรัสชนิดนี้มักจะไม่มีอาการใดๆ เกิดขึ้นนานนับปีทำให้แพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้โดยไม่รู้ตัว กระทั่งมีเลือดออก มีตกขาวผิดปกติ อวัยวะเพศแสบร้อน มีก้อนเนื้อขนาดใหญ่อุดกั้นบริเวณท่อปัสสาวะ ช่องคลอด หรือทวารหนัก ทำให้มีอาการคันและปวดตามมา  วัคซีนมะเร็งปากมดลูก หรือวัคซีน HPV คืออะไร? วัคซีน 4 สายพันธุ์ (Gardasil) ป้องกันทั้งเชื้อไวรัสเอชพีวีสายพันธุ์ 16, 18 และสายพันธุ์ 6, 11 ที่เป็นสาเหตุของโรคหูดหงอนไก่ เดิมฉีดได้ในช่วงอายุ 9-26 ปี แต่ปัจจุบันมีการศึกษารับรองว่าสามารถฉีดได้จนถึงอายุ 45 ปีแล้ว ส่วนผู้ชายฉีดได้ในช่วงอายุ 9-26 ปี วัคซีนมีประสิทธิภาพในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อ…

Post-Exposure Prophylaxis (PEP)

ยา PEP คืออะไร ยาเป๊ป หรือ ยา PEP ย่อมาจาก Post-exposure prophylaxis เป็นยาต้านไวรัสฉุกเฉิน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ HIV หลังจากมีความเสี่ยงมาภายใน 72 ชั่วโมง ยาเป๊ปใช้เฉพาะเวลาจำเป็นเท่านั้น ไม่ควรนำมากินประจำเพื่อป้องกัน HIV และไม่ควรใช้ยาแทนการสวมถุงยางอนามัยเช่นกัน เว้นแต่จะมีความเสี่ยงตลอดก็ควรกินยา PrEP แทนจะดีกว่า ยา PEP เหมาะกับใครบ้าง 1. มีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อ HIV หรือไม่ทราบผลเลือด 2. มีการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน 3. ถูกข่มขืนกระทำชำเรา 4. บุคลากรทางการแพทย์ที่โดนเข็มตำ สัมผัสสารคัดหลั่ง ยา PEP ควรกินเมื่อไหร่ ควรรีบกินหลังจากสัมผัสความเสี่ยงมาภายใน 72 ชั่วโมง ยิ่งเริ่มกินเร็วเท่าไหร่ ยิ่งป้องกันมาก ยา PEP ต้องกินนานแค่ไหน ควรกินต่อเนื่องกันไป 28 วัน และต้องทำการตรวจเลือดซ้ำอีกครั้งหลังกินยาเป๊ป ยา PEP มีประสิทธิภาพมากแค่ไหน…

ยา PrEP ป้องกันการติดเชื้อ HIV

ยา PrEP คืออะไร ยาเพร๊พ หรือยา PrEP ย่อมาจาก Pre-exposure prophylaxis ซึ่งคือยาที่ป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย ยาเพร๊พเป็นยาสำหรับผู้ที่ยังไม่ติดเชื้อ HIV แต่มีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อ หากมีความเสี่ยง การกินยาเพร๊พจะช่วยป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อ HIV เข้าสู่ร่างกายได้ โดยแนะนำให้กินวันละเม็ดเพื่อให้ปริมาณยาอยู่ในร่างกายอย่างเพียงพอที่จะป้องกันการติดเชื้อ หากไม่ได้กินยาทุกวันอาจทำให้ระดับยาไม่ถึงระดับที่ป้องกันเชื้อได้ ยา PrEP เหมาะกับใครบ้าง มีคู่นอนที่มีการติดเชื้อ HIVใช้ถุงยางอนามัยไม่สม่ำเสมอเคยมีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มาก่อนในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมามีคู่นอนหลายคนมีการใช้เข็มฉีดยาร่วมกันเคยมีประวัติกินยา PEP หลายครั้ง ยา PrEP มีประสิทธิภาพมากแค่ไหน ยาเพร๊พจะมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อกินทุกวัน มีหลายรายงานการศึกษาจาก CDC ที่แสดงให้เห็นว่าสามารถป้องกันการติด HIV ผ่านทางเพศสัมพันธ์ได้ถึง 99% และป้องกันผ่านทางเข็มฉีดยาได้ถึง 74% การใช้ถุงยางอนามัยร่วมกันกินยาเพร๊พยิ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภารการป้องกันได้มากขึ้น ยา PrEP มีผลข้างเคียงหรือไม่ สำหรับบางคนอาจมีผลข้างเคียงได้ เช่น คลื่นไส้อาเจียน ปวดหัว เหนื่อยเพลีย แต่มักจะดีขึ้นและหายไปภายในไม่กี่วัน จะมีอาการแค่ช่วงแรกที่เริ่มกินยา หากต้องการกินยา PrEP ต้องทำอย่างไร การกินยาเพร๊พเป็นเรื่องไม่ยาก…

พยาธิในช่องคลอด / Trichomoniasis

พยาธิในช่องคลอด เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัว Trichomonas vaginalis ซึ่งพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย

ไวรัสตับอักเสบ เอ (Viral hepatitis A)

ถึงแม้ว่าโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ จะไม่ใช่โรคที่รุนแรงหรือโรคเรื้อรัง แต่ก็เป็นโรคที่ติดต่อกันได้ง่าย

Tag :

We use cookies to improve performance. and good experience using your website. You can study details at Privacy Policy and can manage your own privacy by clicking on Settings

Privacy Preferences

You can choose your cookie settings by turning them on/off. Cookies of each type are available on request, except essential cookies.

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Strictly necessary cookies
    Always Active

    These types of cookies are essential for the website to function. so that you can use it normally and visit the website You cannot disable cookies in our website system.

  • คุกกี้ที่จำเป็น

    These types of cookies are essential for the website to function. so that you can use it normally and visit the website You cannot disable cookies in our website system.

Save